วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2551

Processor

Processor หรือ โปรเซสเซอร์ คือวงจรตรรก (Logic) ซึ่งทำหน้าที่ตอบสนองหรือประมวลชุดคำสั่งพื้นฐาน (Instruction) ที่ใช้ในการขับเคลื่อนคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปแล้วคำ "Processor" อาจใช้แทนคำ "CPU" ได้ ทั้งนี้โปรเซสเซอร์ที่อยู่ในเครื่องพีซีหรือในอุปกรณ ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กจะนิยมเรียกว่า "Microprocessor" หรือ ไมโครโปรเซสเซอร์

Podcast

พ็อดคาสต์หรือ Podcast คือการบันทึกเสียงหรือการนำไฟล์เสียงขึ้นไปเก็บบนเว็ บไซต์ เพื่อให้ผู้สนใจดาวน์โหลดมาฟัง ไฟล์เสียงที่ถูกเก็บไว้ในพ็อดคาสต์ไม่จำเป็นต้องเป็น ไฟล์เพลงเสมอไป เจ้าของเว็บไซต์สามารถประยุกต์ใช้กับกิจกรรมที่เกี่ย วกับเสียง หรืออาจทำในรูปแบบ Audio Weblog หรือเว็บล็อกที่ใช้เสียงพูดแทนตัวหนังสือกรณีศึกษาที่เห็นได้ชัดคือ เว็บไซต์อย่าง EarningsCast.com นักลงทุนสามารถฟังรายงานผลประกอบการรายไตรมาสของบริษ ัทในตลาดหลักทรัพย์ได้ผ่านพ็อดคาสต์ ถือเป็นการใช้พ็อดคาสต์เพื่อเป็นประโยชน์ในการเทรดหุ ้นของบริษัทจุดต่างของระหว่างพ็อดคาสติ้งและสถานีเพลงออนไลน์ทั่ วไปคือ ผู้ที่ต้องการฟังสถานีเพลงออนไลน์จะต้องเข้าไปที่เว็ บไซต์เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ MP3 มาเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนจะดาวน์โหลดเพื่อเก็บในเครื่องเล่นพกพา ในขณะที่สมาชิกของเว็บไซต์พ็อดคาสต์จะได้รับไฟล์ MP3 อัปเดทใหม่แบบอัตโนมัติแม้จะไม่ได้เข้าไปที่หน้าเว็บ ไซต์ก็ตาม ผลจากการทำงานร่วมกับ RSS Feedอย่างไรก็ตาม พ็อดคาสต์ถูกมองว่าเป็นช่องทางการสื่อสารเฉพาะกลุ่มเ ท่านั้น เนื่องจากการใช้งานพ็อดคาสต์จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่เ หมาะสม อย่างเช่นควรมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพื่อการดาวน์ โหลดลงเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือต้องมีอุปกรณ์เครื่องเล่นไฟล์เพลงแบบพกพาที่รองร ับพ็อดคาสต์โดยเฉพาะ

Phishing

Phishingพฤติกรรมการหลอกลวงผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่ อล้วงข้อมูลส่วนตัว ด้วยการอ่อยเหยื่อออนไลน์ จนเป็นที่มาของคำว่า phishing โดยเลียนคำว่า fishing ที่หมายถึง การตกปลาวิธีการหลอกลวงจะเริ่มต้นจากการสุ่มส่งอีเมล์ไปยังสม าชิกของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ไอเอสพี) หรือบริษัทการเงินที่น่าเชื่อถือ โดยเนื้อหาในอีเมล์จะขอให้ผู้เป็นสมาชิกติดต่อทางบริ ษัท โดยผ่านทางเว็บเพจที่ระบุไว้ในตอนท้ายของอีเมล์สุดยอดของกลเม็ดนี้ก็คือการลวงใช้ URL เดียวกันกับเว็บไซต์จริง ๆ ของบริษัทต่างๆ ซึ่งทำให้ผู้เป็นสมาชิกเว็บไซต์นั้นๆ หลงเชื่อคลิกเข้าไปที่เว็บเพจดังกล่าว โดยจะเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ที่ถูกเลียนแบบให้มีรูปล ักษณ์หน้าตาคล้ายคลึงกับเว็บไซต์จริงของทางบริษัทเป็ นอย่างมากในหน้าเว็บไซต์ดังกล่าว จะมีข้อความให้ผู้ที่หลงเชื่อกรอกรายละเอียดต่างๆ ในการเป็นสมาชิกเสีย ใหม่ รวมทั้งรหัสผ่านหรือพาสเวิร์ด และหมายเลขบัตรเครดิตด้วย เท่านี้เหยื่อก็ติดกับแฮคเกอร์เหมือนเป็นปลาน้อยหลงก ลนักตกปลา

Peripheral

Peripheral หรือ เพอริเฟอรัล คือคำที่ใช้เรียกอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใดๆที่ไม่ใช่ส่วน ประกอบหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ (โปรเซสเซอร์, เมมโมรี และเมนบอร์ด) แต่ก็มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด เพอริเฟอรัลอาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า อุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต (Input/Output (I/O) Device) ซึ่งบางตัวจะเชื่อมอยู่กับเมนบอร์ดภายในเคสคอมพิวเตอ ร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์, ซีดีรอม และการ์ดแลน ขณะที่อื่นๆจะอยู่นอกเคสฯ เช่น พรินเตอร์และสแกนเนอร์ ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมต่อผ่านสายเคเบิลหรือไร้สายก็ต าม

PCI Express

PCI Expressเทคโนโลยีใหม่สำหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต โดยเฉพาะกราฟิกการ์ด มีแบนด์วิธกว้างกว่าและความเร็วสูงกว่ามาตรฐาน PCI ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมาตรฐาน PCI จะมีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดที่ 133 เมกะไบต์ต่อวินาที (MBps) และเป็นการส่งผ่านแบบทิศทางเดียว เทียบกับ 250 MBps ต่อทิศทางของ PCI Express และเป็นการส่งผ่านข้อมูลแบบ 2 ทิศทาง รวมเป็นแบนด์วิธทั้งสิ้น 500MBpsนั่นหมายถึงความเร็วโดยรวมของระบบที่สูงขึ้น และประสิทธิภาพในการใช้งานเครือข่ายกิกะบิตที่สูงขึ้ น ซึ่งปกติจะเกิดปัญหาคอขวด ทั้งยังเป็นการปูทางสำหรับเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นในอ นาคต เช่น HDTV (High-Definition TV) และกราฟิกเทคโนโลยีระดับแอดวานซ์ ด้วย

Operating System

Operating System (OS)หรือ ระบบปฏิบัติการ คือ โปรแกรมที่โหลดขึ้นมาตามกระบวนการบูตเครื่องคอมพิวเต อร์ โปรแกรมนี้จะคอยจัดการกับโปรแกรมอื่นๆทั้งหมดในเครื่ องคอมพิวเตอร์ซึ่งโปรแกรมเหล่านี้จะถูกเรียกว่า "แอพพลิเคชั่น (Application)" แอพพลิเคชั่นโปรแกรมจะติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์โด ยอาศัยโปรแกรมระบบปฏิบัติการผ่านทางส่วนติดต่อที่มีช ื่อว่า เอพีไอ (Application Program Interface; API) ในขณะที่ผู้ใช้จะติดต่อกับระบบปฏิบัติการผ่านทางส่วน ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface) ซึ่งเป็นแบบกราฟิก (Graphical User Interface) หรือที่เราคุ้นเคยกันในชื่อ GUI

Open-Source

"Open-Source" หรือ "โอเพ่นซอร์ส" คือคำที่ใช้แทนคำว่า ฟรีซอฟต์แวร์ (Free Software) หรือซอฟต์แวร์เสรี ที่ให้เสรีภาพแก่ผู้บริโภคในการรัน, แก้ไขปรับปรุง และเผยแพร่โปรแกรม ไม่ว่าจะโดยการจำหน่ายหรือให้ฟรีก็ตาม แต่ที่สำคัญคือต้องแถมซอร์สโค้ด (Source Code) ไปด้วย

Nonvolatile Memory

Nonvolatile Memoryหรือ นอนโวลาไทล์เมมโมรี่ คือ หน่วยความจำทุกชนิดที่ไม่ต้องทำการรีเฟรชคอนเทนต์ ได้แก่ รอมทุกประเภท (ROM) เช่น พีรอม (PROM), เอ็ปรอม (EPROM), อีเอ็ปรอม (EEPROM) และแฟลชเมมโมรี่ (Flash Memory) รวมถึงแรม (RAM) ที่ต้องใช้ไฟเลี้ยงจากแบตเตอรี่ด้วย

Motherboard

Motherboard หรือ Mainboard หรือ มาเธอร์บอร์ด หรือ เมนบอร์ด คือ แผงวงจรหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ รูปแบบโดยทั่วไปของเมนบอร์ดในปัจจุบันจะเป็นแบบ AT ซึ่งอ้างอิงตามแบบดั้งเดิมของไอบีเอ็ม และ ATX ซึ่งเป็นรูปแบบที่พัฒนาต่อจาก AT มาอีกขั้นหนึ่งส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ประกอบที่มาต่อกับเมนบอร์ด ได้แก่ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor), หน่วยความจำ (Memory), ไบออส (BIOS), เอ็กซ์แพนชั่นสล็อต (Expansion Slot) และช่องต่ออินเตอร์คอนเนคติ้ง (Interconnecting)อุปกรณ์อื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาสามารถเชื่อมต่อกั บเมนบอร์ดได้โดยผ่านทางเอ็กซ์แพนชั่นสล็อต ขณะที่ช่องทางที่เชื่อมต่อระหว่างเมนบอร์ดกับการ์ดใน เอ็กซ์แพนชั่นสล็อต จะเรียกว่า บัส (Bus)

Microprocessor

Microprocessor หรือ ไมโครโปรเซสเซอร์ คือ คอมพิวเตอร์โปรเซสเซอร์บนไมโครชิพ มันเป็น "เอนจิ้น" ซึ่งจะเริ่มทำงานก็ต่อเมื่อเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเ ตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์ถูกออกแบบมาเพื่อการประมวลผลคณิตศาส ตร์และตรรกศาสตร์ซึ่งอาศัยตัวเก็บข้อมูลขนาดเล็กที่เ รียกว่า "รีจีสเตอร์" (Register) เป็นตัวเก็บนำส่งข้อมูลและเก็บผลลัพธ์เป็นการชั่วครา วลักษณะการประมวลผลทั่วๆไปของไมโครโปรเซสเซอร์ได้แก่ การบวก, การลบ, การเปรียบเทียบตัวเลข 2 จำนวน และการดึง (Fetch) ข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ลักษณะการประมวลผลเหล่านี้คือผลจากชุดคำสั่ง (Instruction) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์เมื่อเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์จะอ่านคำสั่งชุดแรกจากระบบอินพุตเอา ต์พุตเบื้องต้นหรือไบออส (Basic Input/Output System; BIOS) ซึ่งจะติดมาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในฐานะที่เป็น ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ หลังจากนั้น ทั้งไบออส หรือระบบปฏิบัติการที่ไบออสโหลดเข้ามาเก็บไว้ในหน่วย ความจำ หรือแอพพลิเคชั่นโปรแกรม จะเป็นตัวขับเคลื่อนไมโครโปรเซสเซอร์ หมายถึงการป้อนชุดคำสั่งให้ประมวลผลหรือปฏิบัติงาน

Microchip

Microchip หรือ ไมโครชิพ หรือ ชิพ คือแพ็คเกจของชุดวงจรคอมพิวเตอร์ (อินทิเกรเต็ดเซอร์กิต; Integrated Circuit) ซึ่งผลิตขึ้นจากวัตถุดิบ เช่น ซิลิคอน ที่มีขนาดเล็กมากๆ ไมโครชิพถูกสร้างขึ้นสำหรับโปรแกรมตรรก (ชิพไมโครโปรเซสเซอร์) และหน่วยความจำ (แรม; RAM) นอกจากนี้ยังถูกสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆอีกด ้วย เช่น Analog-to-Digital Conversion, Bit Slicing และ Gateway เป็นต้น

Memory

Memory หรือ หน่วยความจำ คือ อุปกรณ์อีเลคโทรนิคที่ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลบางส่ว นซึ่งไมโครโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้เร็วที่สุด บางครั้งคำว่า "หน่วยความจำ" อาจใช้แทนคำว่า "แรม" (RAM; Random Access Memory) ซึ่งเป็นหน่วยความจำชนิดหนึ่งได้

MalWare

MalWareมัลแวร์ หรือโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Application; MalWare) คือโปรแกรมที่ทำงานแบบไม่หวังดีกับระบบคอมพิวเตอร์ อันหมายรวมถึง ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus), หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm), ม้าโทรจัน (Trojan Horse), โปรแกรมแอบดักข้อมูล (Spyware), โปรแกรมโฆษณา (Adware), Backdoor, Key Logger ฯลฯ เพิ่มเติมความหมายในรายละเอียดจะต่อให้ข้างหลัง

Main Frame

Mainframe คือคำที่กลุ่มอุตสาหกรรมใช้เรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ข นาดใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิ วเตอร์ชั้นนำ เช่น บริษัทไอบีเอ็ม (IBM)ที่ผ่านมา เครื่องคอมพิวเตอร์แมนเฟรมจะทำงานภายใต้สถาปัตยกรรมแ บบสู่ศูนย์กลาง (Centralized) มากกว่าจะเป็นแบบกระจาย (Distributed) แต่ในปัจจุบัน เครื่องเมนเฟรมของไอบีเอ็มสามารถทำหน้าที่เสมือนเครื ่องเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ได้แล้ว มันสามารถให้บริการแก่ยูสเซอร์และเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ กใดๆในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้

LinuxSIS

ลินุกซ์ซิส (Linux SIS : Linux School or Small Office Internet Server) คือ ชุดซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการของคนไทยที่ทำหน้าที่เป็น อินเทอร์เน็ต หรือ อินทราเน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet / Intranet Server) ให้กับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ได้นำไปประยุกต์ใช้ เพื่อลดต้นทุนด้านซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ลินุกซ์ซิส เป็นชุดซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่นำไปติดตั้งกับเครื่องค อมพิวเตอร์ธรรมดาทั่วๆ ไป (PC :Personal Computer) หรือเครื่องแม่ข่ายธรรมดา (Server PC Base) ให้กลายเป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Serverเครื่องแม่ข่าย) ที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้บริการแก่เครื่องคอมพิวเตอร์ภายใน / ภายนอกโรงเรียน หรือหน่วยงานต่างๆ โดยมีบริการให้เลือกใช้อย่างมากมาย ตัวอย่างเช่น Web server, Mail server, Proxy/Cache Server และDNS server เป็นต้น และยังมีซอฟต์แวร์เสริมต่างๆ อีกมากมายที่ช่วยให้การทำงานต่างๆ ง่ายขึ้น

Linux

Linux หรือ ลีนักซ์ คือระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี เป็นซอฟต์แวร์ประเภทโอเพ่นซอร์ส (Opensource) หรือฟรีซอฟต์แวร์ (Free Software) คือมีอิสระในการใช้งาน, มีอิสระในการปรับปรุงแก้ไขโครงสร้างภายใน และมีอิสระในการแจกจ่ายให้ผู้อื่นใช้ ภายใต้โอเพ่นซอร์สไลเซนส์

LAN

LAN (Local Area Network) หรือ แลน คือ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิว เตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย แต่ละเครื่องจะอยู่ในบริเวณใกล้ ๆ กัน เช่น ใน อาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านี้จะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี ชื่อของโปรแกรมระบบแลนที่โด่งดังก็มี Novell, Windows NT ดู WAN เปรียบเทียบ

Instruction

Instruction หรือ อินสตรักชั่น คือ คำสั่งที่สั่งโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้โปรเซสเซ อร์ทำงานตามที่ต้องการในระดับล่างสุด อินสตรักชั่นแต่ละอินสตรักชั่นจะประกอบไปด้วย 0 และ 1 เรียงต่อๆกันอยู่ ซึ่งจะอธิบายถึงลักษณะและวิธีการประมวลผล เช่น บวกหรือลบพื้นที่ที่ใช้เก็บจำนวนหรือผลลัพธ์ที่ใช้ในการประมวล ผล หรือแอดเดรสของอินสตักชั่นถัดไปในหน่วยความจำ (ขึ้นอยู่กับประเภทของอินสตักชั่น) ไม่ว่าจะเป็นการอ้างอิงแอดเดรสแบบทางตรง (Direect) หรือทางอ้อม (Indirect) จะเป็นพื้นที่เฉพาะที่เรียกว่า "รีจีสเตอร์" (Register)ในภาษาแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ของคอมพิวเตอร์ คำสั่งแต่ละสเตทเมนต์จะเท่ากับ 1 อินสตักชั่น แต่สำหรับในภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงแล้ว คำสั่งแต่ละสเตทเมนต์จะเท่ากับหลายๆอินสตักชั่นรวมกั น

Instant Messaging

Instant Messaging หรือ IM หมายถึงโปรแกรมที่ให้ผู้ใช้สามารถส่งผ่านข้อความ, ตัวอักษร, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว, ไฟล์มัลติมีเดีย หรือคุยตอบโต้กันได้แบบเรียลไทม์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Hacker

Hacker หรือ แฮกเกอร์ คือ ผู้ที่ชื่นชอบในการเสาะค้นหารายละเอียดเกี่ยวกับเครื ่องคอมพิวเตอร์และวิธีการที่จะใช้เครื่องให้ได้เต็มห รือเกินขีดความสามารของเครื่องผู้ที่ชอบสอดรู้สอดเห็นที่พยายามจะให้ได้มาซึ่งข้อมู ล โดยการสอดแนมในที่ต่างๆผู้ที่ชื่นชอบในการเรียนรู้ในรายละเอียดของการเขียนโ ปรแกรมและวิธีที่จะใช้มันให้ได้เต็มหรือเกินขีดความส ามารถ ซึ่งตรงข้ามกับผู้ใช้ทั่วๆไปที่ต้องการเรียนเพียงที่ จำเป็นต้องใช้เท่านั้นผู้โจมตีเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อความท้าทาย สถานะ หรือความตื่นเต้น ที่จะได้มาเมื่อประสบความสำเร็จ

FrontSide Bus

FrontSide Bus หรือ ฟรอนต์ไซด์บัส คือช่องทางการสื่อสารข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมระหว่างโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำหลัก หรือแรม

Free Software

Free Software เป็นคำที่มีคนเข้าใจผิดกันมาก เพราะคำว่า Free ใน Free Software นั้นหมายถึง "เสรีภาพ" หรือ "อิสระภาพ" ไม่ใช่ "ราคา" ดังนั้นเราจึงเรียก Free Software ว่า "ซอฟต์แวร์เสรี" ซึ่งมีแนวคิดหรือคอนเซ็ปต์เดียวกันกับ "โอเพนซอร์ส" (Open Source)สำหรับนิยามของคำว่า Free Software นั้น มีอยู่ทั้งหมด 4 ข้อด้วยกัน คือ1.มีเสรีในการรันหรือใช้ซอฟต์แวร์สำหรับทุกๆวัตถุประ สงค์2.มีเสรีในการปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการสำหรับข้อนี้นั้น จำเป็นที่เราจะต้องรู้ก่อนว่า การปรับแต่งซอฟต์แวร์ต้องกระทำในส่วนที่เป็นซอร์สโค้ ดเท่านั้น หากไม่มีซอร์สโค้ด ก็ไม่สามารถทำได้ หรืออาจจะได้ แต่ยากมากๆ3.มีเสรีในการก็อปปี้ซอฟต์แวร์เพื่อเผยแพร่ไปยังผู้อ ื่น ไม่ว่าจะมีราคาค่าตัวหรือไม่ก็ตาม4.มีเสรีในการเผยแพร่ซอฟต์แวร์ที่ได้รับการปรับแต่งใ ห้เหมาะสมตามความต้องการแล้วจากนิยามทั้ง 4 ข้อ เมื่อคำว่า Free ถูกตีความไปเป็นคำว่า "เสรีภาพ" หรือ "อิสรภาพ" แล้ว เชื่อว่าหลายๆคนคงได้รับความกระจ่างกับคำถามที่ว่า "ทำไมฟรีซอฟต์แวร์ถึงขายได้???" หรือ "ทำไมลีนักซ์จึงไม่ใช่ของฟรี??? ไหนบอกว่าเป็นฟรีซอฟต์แวร์"อย่างไรก็ตาม รายได้จากการจำหน่ายฟรีซอฟต์แวร์จะกลายเป็นทุนสำหรับ การพัฒนาฟรีซอฟต์แวร์ให้ดีขึ้นต่อไป เพราะกองทัพต้องเดินด้วยท้อง และอาสาสมัครที่เข้ามาร่วมพัฒนาฟรีซอฟต์แวร์ก็เป็นมน ุษย์คนหนึ่งเช่นกัน จำเป็นต้องมีรายได้เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว ซึ่งรายได้เหล่านั้นก็มาจากเงินบริจาคและจากการจำหน่ ายฟรีซอฟต์แวร์นั่นเอง

วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551

Motherboard

Motherboard หรือ Mainboard หรือ มาเธอร์บอร์ด หรือ เมนบอร์ด คือ แผงวงจรหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ รูปแบบโดยทั่วไปของเมนบอร์ดในปัจจุบันจะเป็นแบบ AT ซึ่งอ้างอิงตามแบบดั้งเดิมของไอบีเอ็ม และ ATX ซึ่งเป็นรูปแบบที่พัฒนาต่อจาก AT มาอีกขั้นหนึ่งส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ประกอบที่มาต่อกับเมนบอร์ด ได้แก่ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor), หน่วยความจำ (Memory), ไบออส (BIOS), เอ็กซ์แพนชั่นสล็อต (Expansion Slot) และช่องต่ออินเตอร์คอนเนคติ้ง (Interconnecting)อุปกรณ์อื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาสามารถเชื่อมต่อกั บเมนบอร์ดได้โดยผ่านทางเอ็กซ์แพนชั่นสล็อต ขณะที่ช่องทางที่เชื่อมต่อระหว่างเมนบอร์ดกับการ์ดใน เอ็กซ์แพนชั่นสล็อต จะเรียกว่า บัส (Bus)

Microprocessor

Microprocessor หรือ ไมโครโปรเซสเซอร์ คือ คอมพิวเตอร์โปรเซสเซอร์บนไมโครชิพ มันเป็น "เอนจิ้น" ซึ่งจะเริ่มทำงานก็ต่อเมื่อเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเ ตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์ถูกออกแบบมาเพื่อการประมวลผลคณิตศาส ตร์และตรรกศาสตร์ซึ่งอาศัยตัวเก็บข้อมูลขนาดเล็กที่เ รียกว่า "รีจีสเตอร์" (Register) เป็นตัวเก็บนำส่งข้อมูลและเก็บผลลัพธ์เป็นการชั่วครา วลักษณะการประมวลผลทั่วๆไปของไมโครโปรเซสเซอร์ได้แก่ การบวก, การลบ, การเปรียบเทียบตัวเลข 2 จำนวน และการดึง (Fetch) ข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ลักษณะการประมวลผลเหล่านี้คือผลจากชุดคำสั่ง (Instruction) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์เมื่อเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์จะอ่านคำสั่งชุดแรกจากระบบอินพุตเอา ต์พุตเบื้องต้นหรือไบออส (Basic Input/Output System; BIOS) ซึ่งจะติดมาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในฐานะที่เป็น ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ หลังจากนั้น ทั้งไบออส หรือระบบปฏิบัติการที่ไบออสโหลดเข้ามาเก็บไว้ในหน่วย ความจำ หรือแอพพลิเคชั่นโปรแกรม จะเป็นตัวขับเคลื่อนไมโครโปรเซสเซอร์ หมายถึงการป้อนชุดคำสั่งให้ประมวลผลหรือปฏิบัติงาน

Microchip

Microchip หรือ ไมโครชิพ หรือ ชิพ คือแพ็คเกจของชุดวงจรคอมพิวเตอร์ (อินทิเกรเต็ดเซอร์กิต; Integrated Circuit) ซึ่งผลิตขึ้นจากวัตถุดิบ เช่น ซิลิคอน ที่มีขนาดเล็กมากๆ ไมโครชิพถูกสร้างขึ้นสำหรับโปรแกรมตรรก (ชิพไมโครโปรเซสเซอร์) และหน่วยความจำ (แรม; RAM) นอกจากนี้ยังถูกสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆอีกด ้วย เช่น Analog-to-Digital Conversion, Bit Slicing และ Gateway เป็นต้น

Memory

Memory หรือ หน่วยความจำ คือ อุปกรณ์อีเลคโทรนิคที่ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลบางส่ว นซึ่งไมโครโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้เร็วที่สุด บางครั้งคำว่า "หน่วยความจำ" อาจใช้แทนคำว่า "แรม" (RAM; Random Access Memory) ซึ่งเป็นหน่วยความจำชนิดหนึ่งได้

MalWare

MalWareมัลแวร์ หรือโปรแกรมประสงค์ร้าย (Malicious Application; MalWare) คือโปรแกรมที่ทำงานแบบไม่หวังดีกับระบบคอมพิวเตอร์ อันหมายรวมถึง ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus), หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm), ม้าโทรจัน (Trojan Horse), โปรแกรมแอบดักข้อมูล (Spyware), โปรแกรมโฆษณา (Adware), Backdoor, Key Logger ฯลฯ เพิ่มเติมความหมายในรายละเอียดจะต่อให้ข้างหลัง

Main Frame

Main FrameMainframe คือคำที่กลุ่มอุตสาหกรรมใช้เรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ข นาดใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิ วเตอร์ชั้นนำ เช่น บริษัทไอบีเอ็ม (IBM)ที่ผ่านมา เครื่องคอมพิวเตอร์แมนเฟรมจะทำงานภายใต้สถาปัตยกรรมแ บบสู่ศูนย์กลาง (Centralized) มากกว่าจะเป็นแบบกระจาย (Distributed) แต่ในปัจจุบัน เครื่องเมนเฟรมของไอบีเอ็มสามารถทำหน้าที่เสมือนเครื ่องเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ได้แล้ว มันสามารถให้บริการแก่ยูสเซอร์และเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ กใดๆในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้

วันพุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2551

LinuxSIS

ลินุกซ์ซิส (Linux SIS : Linux School or Small Office Internet Server) คือ ชุดซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการของคนไทยที่ทำหน้าที่เป็น อินเทอร์เน็ต หรือ อินทราเน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet / Intranet Server) ให้กับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ได้นำไปประยุกต์ใช้ เพื่อลดต้นทุนด้านซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ลินุกซ์ซิส เป็นชุดซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่นำไปติดตั้งกับเครื่องค อมพิวเตอร์ธรรมดาทั่วๆ ไป (PC :Personal Computer) หรือเครื่องแม่ข่ายธรรมดา (Server PC Base) ให้กลายเป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Serverเครื่องแม่ข่าย) ที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้บริการแก่เครื่องคอมพิวเตอร์ภายใน / ภายนอกโรงเรียน หรือหน่วยงานต่างๆ โดยมีบริการให้เลือกใช้อย่างมากมาย ตัวอย่างเช่น Web server, Mail server, Proxy/Cache Server และDNS server เป็นต้น และยังมีซอฟต์แวร์เสริมต่างๆ อีกมากมายที่ช่วยให้การทำงานต่างๆ ง่ายขึ้น

Linux

LinuxLinux หรือ ลีนักซ์ คือระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี เป็นซอฟต์แวร์ประเภทโอเพ่นซอร์ส (Opensource) หรือฟรีซอฟต์แวร์ (Free Software) คือมีอิสระในการใช้งาน, มีอิสระในการปรับปรุงแก้ไขโครงสร้างภายใน และมีอิสระในการแจกจ่ายให้ผู้อื่นใช้ ภายใต้โอเพ่นซอร์สไลเซนส์

LAN

LAN (Local Area Network) หรือ แลน คือ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิว เตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย แต่ละเครื่องจะอยู่ในบริเวณใกล้ ๆ กัน เช่น ใน อาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านี้จะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี ชื่อของโปรแกรมระบบแลนที่โด่งดังก็มี Novell, Windows NT ดู WAN เปรียบเทียบ

Instruction

Instruction Instruction หรือ อินสตรักชั่น คือ คำสั่งที่สั่งโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้โปรเซสเซ อร์ทำงานตามที่ต้องการในระดับล่างสุด อินสตรักชั่นแต่ละอินสตรักชั่นจะประกอบไปด้วย 0 และ 1 เรียงต่อๆกันอยู่ ซึ่งจะอธิบายถึงลักษณะและวิธีการประมวลผล เช่น บวกหรือลบพื้นที่ที่ใช้เก็บจำนวนหรือผลลัพธ์ที่ใช้ในการประมวล ผล หรือแอดเดรสของอินสตักชั่นถัดไปในหน่วยความจำ (ขึ้นอยู่กับประเภทของอินสตักชั่น) ไม่ว่าจะเป็นการอ้างอิงแอดเดรสแบบทางตรง (Direect) หรือทางอ้อม (Indirect) จะเป็นพื้นที่เฉพาะที่เรียกว่า "รีจีสเตอร์" (Register)ในภาษาแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ของคอมพิวเตอร์ คำสั่งแต่ละสเตทเมนต์จะเท่ากับ 1 อินสตักชั่น แต่สำหรับในภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงแล้ว คำสั่งแต่ละสเตทเมนต์จะเท่ากับหลายๆอินสตักชั่นรวมกั น

Instant Messaging

Instant Messaging Instant Messaging หรือ IM หมายถึงโปรแกรมที่ให้ผู้ใช้สามารถส่งผ่านข้อความ, ตัวอักษร, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว, ไฟล์มัลติมีเดีย หรือคุยตอบโต้กันได้แบบเรียลไทม์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Hacker

Hacker Hacker หรือ แฮกเกอร์ คือ ผู้ที่ชื่นชอบในการเสาะค้นหารายละเอียดเกี่ยวกับเครื ่องคอมพิวเตอร์และวิธีการที่จะใช้เครื่องให้ได้เต็มห รือเกินขีดความสามารของเครื่องผู้ที่ชอบสอดรู้สอดเห็นที่พยายามจะให้ได้มาซึ่งข้อมู ล โดยการสอดแนมในที่ต่างๆผู้ที่ชื่นชอบในการเรียนรู้ในรายละเอียดของการเขียนโ ปรแกรมและวิธีที่จะใช้มันให้ได้เต็มหรือเกินขีดความส ามารถ ซึ่งตรงข้ามกับผู้ใช้ทั่วๆไปที่ต้องการเรียนเพียงที่ จำเป็นต้องใช้เท่านั้นผู้โจมตีเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อความท้าทาย สถานะ หรือความตื่นเต้น ที่จะได้มาเมื่อประสบความสำเร็จ

FrontSide Bus

FrontSide Bus FrontSide Bus หรือ ฟรอนต์ไซด์บัส คือช่องทางการสื่อสารข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมระหว่างโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำหลัก หรือแรม

Free Software

Free Software Free Software เป็นคำที่มีคนเข้าใจผิดกันมาก เพราะคำว่า Free ใน Free Software นั้นหมายถึง "เสรีภาพ" หรือ "อิสระภาพ" ไม่ใช่ "ราคา" ดังนั้นเราจึงเรียก Free Software ว่า "ซอฟต์แวร์เสรี" ซึ่งมีแนวคิดหรือคอนเซ็ปต์เดียวกันกับ "โอเพนซอร์ส" (Open Source)สำหรับนิยามของคำว่า Free Software นั้น มีอยู่ทั้งหมด 4 ข้อด้วยกัน คือ1.มีเสรีในการรันหรือใช้ซอฟต์แวร์สำหรับทุกๆวัตถุประ สงค์2.มีเสรีในการปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการสำหรับข้อนี้นั้น จำเป็นที่เราจะต้องรู้ก่อนว่า การปรับแต่งซอฟต์แวร์ต้องกระทำในส่วนที่เป็นซอร์สโค้ ดเท่านั้น หากไม่มีซอร์สโค้ด ก็ไม่สามารถทำได้ หรืออาจจะได้ แต่ยากมากๆ3.มีเสรีในการก็อปปี้ซอฟต์แวร์เพื่อเผยแพร่ไปยังผู้อ ื่น ไม่ว่าจะมีราคาค่าตัวหรือไม่ก็ตาม4.มีเสรีในการเผยแพร่ซอฟต์แวร์ที่ได้รับการปรับแต่งใ ห้เหมาะสมตามความต้องการแล้วจากนิยามทั้ง 4 ข้อ เมื่อคำว่า Free ถูกตีความไปเป็นคำว่า "เสรีภาพ" หรือ "อิสรภาพ" แล้ว เชื่อว่าหลายๆคนคงได้รับความกระจ่างกับคำถามที่ว่า "ทำไมฟรีซอฟต์แวร์ถึงขายได้???" หรือ "ทำไมลีนักซ์จึงไม่ใช่ของฟรี??? ไหนบอกว่าเป็นฟรีซอฟต์แวร์"อย่างไรก็ตาม รายได้จากการจำหน่ายฟรีซอฟต์แวร์จะกลายเป็นทุนสำหรับ การพัฒนาฟรีซอฟต์แวร์ให้ดีขึ้นต่อไป เพราะกองทัพต้องเดินด้วยท้อง และอาสาสมัครที่เข้ามาร่วมพัฒนาฟรีซอฟต์แวร์ก็เป็นมน ุษย์คนหนึ่งเช่นกัน จำเป็นต้องมีรายได้เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว ซึ่งรายได้เหล่านั้นก็มาจากเงินบริจาคและจากการจำหน่ ายฟรีซอฟต์แวร์นั่นเอง

Flash Memory

Flash Memory "Flash Memory" หรือ "แฟลชเมมโมรี่" หรือ "หน่วยความจำแฟลช" คือ หน่วยความจำประเภท "นอนโวลาไทล์" (Nonvolatile) ซึ่งสามารถลบหรือแก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในยูนิตของ หน่วยความจำที่เรียกว่า "บล็อก" (Block) ได้ ข้อแตกต่างระหว่าง "EEPROM" กับ "Flash Memory" คือการลบหรือแก้ไขข้อมูล ซึ่ง "EEPROM" จะกระทำในระดับไบต์ หมายความว่า "Flash memory" จะทำงานได้เร็วกว่า"Flash Memory" มักถูกใช้สำหรับการเก็บคอนโทรลโค้ด เช่น ไบออส ( Basic Input/Output System; BIOS) เนื่องจากง่ายต่อการอัพเดทข้อมูล อย่างไรก็ตาม มันไม่สามารถนำมาใช้งานแทน "แรม" (RAM) ได้ เพราะแรมต้องการการระบุตำแหน่งในระดับไบต์ ไมใช่บล็อก"Flash" เป็นชื่อที่ได้มาจากพฤติกรรมของชิพที่นำมาใช้ ซึ่งสามารถลบข้อมูลที่บรรจุภายในเซลได้ด้วยการกระทำเ พียงครั้งเดียวปัจจุบัน "Flash Memory" ถูกใช้ในอุปกรณ์ดิจิตอลชนิดต่างๆมากมาย เช่น โทรศัพท์มือถือ, กล้องดิจิตอล, แลนสวิตช์, พีซีการ์ดสำหรับโน้ตบุ๊ค, เซ็ตท็อปบ็อกซ์, คอนโทรลเลอร์ ฯลฯ

Firewall

Firewall Firewall หรือ ไฟร์วอลล์ คือเทคโนโลยีที่ช่วยกันผู้บุกรุก ทั้งจากอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายอื่นๆ ไม่ให้เข้าถึงข้อมูลบนเครื่องพีซีของคุณ โดยการกรองข้อมูลทั้งหมดที่ไหลเข้าหรือออกจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งหรือหลายระบบรวมกัน ซึ่งสร้างหรือควบคุมให้มีเส้นแบ่งระหว่างสองเครือข่า ยขึ้นไป เป็นเกตเวย์ที่จำกัดการเข้าถึงเครือข่ายต่างๆ โดยเป็นไปตามนโยบายการรักษาความปลอดภัยของเครือข่ายน ั้นๆไฟร์วอลล์โดยทั่วไปจะเป็นเครื่องพีซีที่มีราคาไม่สูง มากนักและรันระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ เครื่องดังกล่าวจะไม่มีข้อมูลสำคัญอยู่ โดยมีโมเด็มและพอร์ตต่างๆเชื่อมอยู่กับเครือข่ายภายน อก แต่จะมีเพียงพอร์ตเดียวที่ต่อกับเครือข่ายภายใน ซึ่งพอร์ตนี้จะถูกตรวจตราและดูแลอย่างใกล้ชิด

DRAM

DRAM Dynamic Random Access Memory หรือ DRAM หรือ ดีแรม คือ แรม (Random Access Memory; RAM) หรือ หน่วยความจำชนิดปกติสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีและ เครื่องเวิร์คสเตชั่น (Workstation) หน่วยความจำคือเครือข่ายของประจุไฟฟ้าที่เครื่องคอมพ ิวเตอร์ใช้เก็บข้อมูลในรูปของ "0" และ "1" ที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายๆRandom Access หรือ การเข้าถึงแบบสุ่ม หมายถึง โปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงทุกๆส่วนของหน่วยความจำหรือ พื้นที่เก็บข้อมูลได้โดยตรง ไม่จำเป็นต้องค้นหาข้อมูลที่ต้องการเรียงตามลำดับจาก จุดเริ่มต้นDRAM คือไดนามิก ซึ่งตรงกันข้ามกับ SRAM หรือ สแตติกแรม (Static RAM); DRAM ต้องการการรีเฟรช (Refresh) เซลเก็บข้อมูล หรือการประจุไฟ (Charge) ในทุกๆช่วงมิลลิวินาที ในขณะที่ SRAM ไม่ต้องการการรีเฟรชเซลเก็บข้อมูล เนื่องจากมันทำงานบนทฤษฎีของการเคลื่อนที่ของกระแสไฟ ฟ้าซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงใน 2 ทิศทาง ไม่เหมือนกับเซลเก็บข้อมูลซึ่งเป็นเพียงตัวเก็บประจุ ไฟฟ้าเท่านั้น โดยทั่วไป SRAM มักจะถูกใช้เป็นหน่วยความจำแคช (Cache Memory) ซึ่งโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้เร็วกว่าDRAM จะเก็บทุกๆบิตในเซลเก็บข้อมูล ซึ่งประกอบขึ้นด้วยกลุ่มตัวเก็บประจุ (คาปาซิเตอร์; Capacitor) และทรานซิสเตอร์ (Transistor) คาปาซิเตอร์จะสูญเสียประจุไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว และนั่นเป็นเห็นเหตุผลว่า ทำไม DRAM จึงต้องการการรีชาร์ตปัจจุบัน มีแรมมากมายหลากหลายชนิดในท้องตลาด เช่น EDO RAM, SDRAM และ DDR SDRAM เป็นต้น

DDR SDRAM

DDR SDRAM DDR SDRAM หรือ Double Data Rate SDRAM หรือ ดีดีอาร์เอสดีแรม หรือ ดีดีอาร์ คือ เอสดีแรม (SDRAM) ที่ตามทฤษฎีแล้ว สามารถพัฒนาให้สามารถทำงานที่ความเร็วสูงขึ้นถึง 200MHz (เมกะเฮิร์ตซ) และมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า คือ รับส่งข้อมูลได้ทั้งทั้งขาขึ้นและขาลงของสัญญาณคล็อก เทียบกับเอสดีแรมปกติที่จะรับส่งข้อมูลเฉพาะขาขึ้นขอ งสัญญาณคล็อกเพียงด้านเดียว

DDoS

DDoS DDoS หรือ ดีดอส หรือ Distributed Denial-of-Service หรือ ดิสทริบิวต์ออฟเซอร์วิส คือ ลักษณะหรือวิธีการหนึ่งของการโจมตีเครื่องคอมพิวเตอร ์เป้าหมายหรือระบบเป้าหมายบนอินเทอร์เน็ตของแฮกเกอร์ เพื่อทำให้ระบบเป้าหมายปฏิเสธหรือหยุดการให้บริการ (Denial-of-Service)การโจมตีจะเกิดขึ้นพร้อมๆกันและมีเป้าหมายเดียวกัน โดยเครื่องที่ตกเป็นเหยื่อทั้งหมด (เครื่องที่ติดเชื้อจากการแพร่กระจายตัวของโค้ดร้ายซ ึ่งเป็นเครื่องมือของแฮกเกอร์สำหรับการควบคุมระบบ) จะสร้างข้อมูลขยะขึ้นมา แล้วส่งไปที่ระบบเป้าหมายกระแสข้อมูลที่ไหลเข้ามาในปริมาณมหาศาลทำให้ระบบเป้า หมายต้องทำงานหนักขึ้นและช้าลงเรื่อยๆ เมื่อเกินกว่าระดับที่รับได้ ก็จะหยุดการทำงานลงในที่สุด อันเป็นเหตุให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้บริการระบบเป้าหมาย ได้ตามปกติ.

Chipset

Chipset "Chipset"หรือ "ชิพเซ็ต" คือกลุ่มไมโครชิพที่ถูกออกแบบมา เพื่อเชื่อมหรือประสานการทำงานของฟังก์ชั่นต่างๆที่เ กี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน ตัวอย่างเช่น ชิพเซ็ต Intel 430HX สำหรับโปรเซสเซอร์ตระกูลเพนเทียมของอินเทล ซึ่งเป็นชิพเซ็ตที่ใช้ระบบบัส (Bus) แบบพีซีไอ (PCI; Peripheral Component Interconnect) พร้อมหน่วยควบคุม หรือ คอนโทรลเลอร์ (Controller) เชื่อมการทำงานของอุปกรณ์ประกอบต่างๆ (Component) เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นซีพียู, แรม, ฮาร์ดไดร์ฟ, ซาวด์การ์ด, กราฟิกการ์ด, ซีดีรอม ฯลฯ เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านั้นทำงานร่วมกันได้อย่างมีประส ิทธิภาพสูงสุด, เร็วที่สุด และมีความเสถียรมากที่สุด Clustering ระบบคลัสเตอร์ หรือคลัสเตอริ่ง หมายถึงการเชื่อมระบบการทำงานของเซิร์ฟเวอร์เข้าด้วย กัน เพื่อเพิ่มกำลังและความสามารถในการประมวลผล ซึ่งอาจเทียบเท่าระดับซูเปอร์คอมพิวเตอร์หรือสูงกว่า ก็ได้ สำหรับการประมวลผลงานที่มีความซับซ้อน โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ ข้อดีคือประหยัดค่าใช้จ่าย คือถูกกว่าเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์จริงๆ แต่ข้อเสียคือยุ่งยาก

Cache Memory

Cache Memory Cache Memory หรือ Cache หรือ หน่วยความจำแคช หรือ แคช คือหน่วยความจำแรม (RAM) ซึ่งไมโครโปรเซสเซอร์หรือโปรเซสเซอร์แกนหลัก (Core Processor) สามารถเข้าถึงได้เร็วกว่าหน่วยความจำหลัก (Main Memory) บนระบบคอมพิวเตอร์กระบวนการประมวลผลข้อมูลของไมโครโปรเซสเซอร์นั้น ขั้นตอนแรกคือการเข้าไปค้นหาข้อมูลในแคชก่อน ซึ่งถ้าเจอข้อมูลที่ต้องการ ก็ไม่ต้องเสียเวลาไปค้นหาข้อมูลในหน่วยความจำหลักที่ ใหญ่กว่าในระดับถัดออกไป อาทิ Cache L1, Cache L2, (Cache L3), Memory, Harddiskบ่อยครั้งที่แคชจะถูกกำกับด้วยระดับความใกล้หรือความ ง่ายในการเข้าถึงโดยไมโครโปรเซสเซอร์แคชระดับ1 (Cache L1) คือแคชที่อยู่เป็นเนื้อเดียวกันบนตัวไมโครโปรเซสเซอร ์ สามารถเข้าถึงได้เร็วและง่ายที่สุดแคชระดับ2 (Cache L2) คือแคชที่อยู่ห่างออกมาอีกระดับหนึ่ง ก่อนนี้มักนิยมแยกมาไว้บนสแตติกแรม (SRAM) แต่ปัจจุบัน โปรเซสเซอร์เกือบทุกรุ่นจะมีแคช L2 อยู่บนตัวชิป ซึ่งทำให้แคชที่อยู่บนตัวสแตติกแรมกลายเป็นแคชระดับ 3 (Cache L3) ไปโดยปริยายขณะที่หน่วยความจำหลัก (Memory) จะเป็นไดนามิกแรมหรือดีแรม (DRAM) ที่ปัจจุบันดีดีอาร์-ดีแรม (DDR-DRAM) จะเป็นแบบที่นิยมมากที่สุดและกำลังกลายเป็นมาตรฐานสำ หรับระบบคอมพิวเตอร์สรุปว่า แคช (Cache) คือหน่วยความจำขนาดเล็กที่อยู่ใกล้กับไมโครโปรเซสเซอ ร์ (Core Processor) มากที่สุด เป็นหน่วยความจำที่ไมโครโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้ เร็วกว่าหน่วยความจำหลัก (RAM) บนระบบคอมพิวเตอร์ การเพิ่มขนาดแคชทำให้ระบบสามารถเก็บข้อมูลที่โปรเซสเ ซอร์ต้องใช้ในการประมวลผลได้มากขึ้น ทำให้ใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลน้อยลง ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบดีขึ้นด้วย

BIOS

BIOS BIOS หรือ ไบออส หรือ Basic Input/Output คือโปรแกรมที่ไมโครโปรเซสเซอร์ใช้เพื่อเริ่มสตาร์ทกา รทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หลังเปิดสวิตช์ ไบออสจะคอยควบคุมหรือจัดการกับกระแสข้อมูลที่วิ่งระห ว่างระบบปฏิบัติการหรือโอเอส (Operating System; OS) กับอุปกรณ์ต่างๆที่ติดตั้งอยู่ เช่น ฮาร์ดดิสก์, กราฟิกการ์ด, คีย์บอร์ด, เมาส์ หรือพรินเตอร์ เป็นต้นไบออสจะถูกบรรจุไว้ในชิพเอ็ปรอม (EPROM) ซึ่งถูกอินทิเกรตติดไว้กับเมนบอร์ด ไม่เหมือนกับโอเอสที่แยกติดตั้งต่างหาก ทันทีที่เปิดสวิตช์คอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์จะส่งผ่านการควบคุมไปให้กับไบออสไบออสจะทำการค้นหาว่า มีอุปกรณ์ใดเชื่อมต่ออยู่กับระบบและพร้อมทำงานบ้าง จากนั้นจึงโหลดโอเอสเข้าสู่หน่วยความจำหลักหรือแรมจา กฮาร์ดดิสก์ไบออสทำให้ระบบปฏิบัติการหรือแอพพลิเคชั่นเป็นอิสระ คือไม่จำเป็นต้องรู้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวอุปกรณ์นั ้นๆ เช่น แอดเดรส เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดใดๆเกี่ยวกับอุปกรณ์ มีเพียงไบออสเท่านั้นที่ต้องถูกแก้ไขหรือปรับแต่งให้ ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งบางครั้งการแก้ไขไบออสสามารถทำได้ในระหว่างเซ็ตอ ัพระบบแม้ว่าในทางทฤษฎีแล้ว ไบออสจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางคอยควบคุมกระแสข้อมูลระห ว่างไมโครโปรเซสเซอร์และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต แต่ในบางกรณี ไบออสยังสามารถนำมาใช้ควบคุมกระแสข้อมูลที่วิ่งระหว่ างอุปกรณ์ เช่น กราฟิกการ์ด กับหน่วยความจำได้อีกด้วย เพื่อการส่งผ่านข้อมูลที่รวดเร็วกว่าBus "Bus" หรือ "บัส" คือเส้นทางรับ-ส่งสัญญาณ ทั้งข้อมูลและคอนโทรล ที่เชื่อมถึงอุปกรณ์ทุกๆชิ้นในเครื่องคอมพิวเตอร์หรื อเน็ตเวิร์ค เมื่อมีการส่งสัญญาณข้อมูล เฉพาะอุปกรณ์ที่ถูกแอดเดรสหรือระบุไว้เท่านั้นจึงจะร ับข้อมูลก้อนนั้นได้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ บัสจะหมายถึง เส้นทางข้อมูลที่เชื่อมระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุ ปกรณ์ที่เสียบเข้ากับสล็อตต่างๆบนเมนบอร์ดของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ, ซีดีรอมไดร์ฟ, ซาวด์การ์ด และกราฟิกการ์ด เป็นต้น

Application Program

Application Program Application Program หรือ แอพพลิเคชั่นโปรแกรม หรือเรียกสั้นๆว่า Application หรือ แอพพลิเคชั่น คือ โปรแกมที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่เฉพาะสำหรับผู้ใ ช้โดยตรง หรือจากแอพพลิเคชั่นอื่นในบางกรณีตัวอย่างเช่น เวิร์ดโปรเซสซิ่ง, ดาต้าเบส, เว็บเบราวเซอร์, เครื่องมือพัฒนา หรือ ดีเวลอปเมนต์ทูล (Development Tool), โปรแกรมดรอว์อิ้ง, โปรแกรมเพนต์, โปรแกรมตกแต่งภาพ (Image Editor) และโปรแกรมสื่อสาร (Communication Program) เป็นต้นแอพพลิเคชั่นจะมีการเรียกใช้เซอร์วิสของระบบปฏิบัติก ารหรือโปรแกรมซัพพอร์ตอื่นๆในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย โดยรูปแบบในการขอใช้หรือรีเควสต์ (Request) เซอร์วิส และวิธีการสื่อสารกับโปรแกรมอื่น ที่โปรแกรมเมอร์ใช้ในการเขียนแอพพลิเคชั่น เรียกว่า แอพพลิเคชั่นโปรแกรมอินเตอร์เฟส (Application Program Interface; API)

Application Program Interface

Application Program Interface หรือ API หรือ เอพีไอ คือ วิธีการเฉพาะสำหรับการเรียกใช้ระบบปฏิบัติการหรือแอพ พลิเคชั่นอื่นๆ หรือชุดโค้ด คอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานระหว่างแอ พพลิเคชั่นกับระบบปฏิบัติการการที่แอพพลิเคชั่นจะเชื่อมต่อการทำงานกับระบบปฏิบัต ิการได้นั้น จำเป็นต้องมีเอพีไอเป็นตัวเชื่อม ซึ่งหากไม่มีการเปิดเผยเอพีไอของระบบปฏิบัติการ ออกมาแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยที่โปรแกรมเมอร์จะพัฒนาแอพพลิเคชั่นข องเขาให้ทำงานเข้ากับระบบปฏิบัติการได้เต็ม 100%อย่างไรก็ตาม แม้เอพีไอจะเป็นอินเตอร์เฟสชนิดหนึ่ง แต่จะทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของโปรแกรม ซึ่งต่างไปจากยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) ทั้งแบบกราฟิก (Graphical User Interface; GUI) และแบบเดิมที่เป็นบรรทัดคำสั่ง (Command Line) ที่เป็นอินเตอร์เฟสเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์กับผู้ใช ้

วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2551

secondary storage

หน่วยเก็บรอง
สื่อในการเก็บบันทึกข้อมูล เช่น จานบันทึกแบบแข็ง แผ่นบันทึก แผ่นซีดี-รอม และเทปแม่เหล็ก ฯลฯ ที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้อย่างคงทนกว่าหน่วยเก็บหลักอันได้แก่ หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว (ROM) และหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (RAM) เนื่องจากข้อมูลในหน่วยเก็บหลักจะหายไปเมื่อไฟฟ้าดับหรือเมื่อปิดเครื่อง แต่ข้อมูลที่เก็บอยู่ในหน่วยเก็บรองนี้จะไม่หายไปเมื่อมีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น

retrieval

การค้นคืน
กระบวนการทั้งหมดที่รวมถึงการค้นหา การรวบรวม การแสดงผล หรือพิมพ์สารสนเทศที่ได้เก็บบันทึกไว้ในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในครั้งต่อไป

replace แทนที่

ลักษณะในการค้นหาคำหรือข้อความในโปรแกรมประมวลคำและแทนที่คำนั้นด้วยคำใหม่

repetitive strain injury (RSI)

การบาดเจ็บตึงเครียดจากการทำซ้ำๆ (อาร์เอสไอ)
ความเจ็บป่วยจากการงานอาชีพที่ทำให้ทรุดโทรมอย่างร้ายแรงที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของมือและแขนทำอาการเดียวกันซ้ำๆ เป็นเวลานานซึ่งทำให้เกิดความเสียหายและฆ่าประสาทที่มือ แขน หัวไหล่ และคอ
จากการเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นโรคร้ายแรงที่สะสมกันมา การบาดเจ็บนี้เกิดขึ้นเมื่อมีการกระทำซ้ำๆ ต่อเนื่องกันทำให้เกิดเส้นเอ็นยึดและอาการบีบรัดทางประสาทได้ โรคนี้จะเป็นกันมากในผู้ที่ทำงานโดยใช้แผงแป้นอักขระพิมพ์งานเป็นระยะเวลานานๆ ติดต่อกัน

วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

repeater

เครื่องขยายสัญญาณ, เครื่องทวนสัญญาณ
อุปกรณ์ในข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ (LAN) ที่ใช้ในการขยายความยาวของสายเคเบิลในข่ายงานโดยขยายความถี่ของการสั่นสะเทือนและส่งผ่านไปกับข้อความที่เดินทางไปในข่ายงาน ดู bridge และ router ประกอบ

read/write

อ่าน/บันทึก
ความสามารถของอุปกรณ์หน่วยเก็บหลักหรือหน่วยเก็บรองในการบันทึก (เขียน) และเล่นกลับเพื่อแสดงผลข้อมูลที่ได้บันทึกไว้ (อ่าน)

read-only memory (ROM)

หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว (รอม)
หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์สำหรับเก็บคำสั่งไว้อย่างถาวรและยังคงมีคำสั่งเหล่านี้เก็บอยู่ ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิดเครื่องแล้วก็ตาม รอมจะบรรจุโปรแกรมระบบที่สำคัญไว้โดยที่เราหรือคอมพิวเตอร์เองก็ไม่สามารถลบทิ้งได้ทั้งนี้เพราะเป็นชิปที่ผู้ผลิตได้บรรจุคำสั่งไว้อย่างถาวร เนื่องจากหน่วยความจำภายในของคอมพิวเตอร์จะว่างเปล่าเมื่อมีการเปิดเครื่อง จึงทำให้คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานใดๆ ได้ถ้าไม่ให้คำสั่งในการเริ่มต้น ซึ่งคำสั่งเหล่านี้จะถูกเก็บอยู่ในรอมนั่นเอง

random-access memory (RAM)

หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (แรม)
หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า แรม เป็นหน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์ที่ใช้เก็บคำสั่งและข้อมูลเพื่อสามารถเข้าถึงโดยตรงในการควบคุมการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง โดยผ่านทางบัสข้อมูลภายนอกความเร็วสูง ชื่อแรมมักจะเรียกว่าหน่วยความจำอ่าน/บันทึกเพื่อเป็นการแบ่งแยกจากหน่วยความจำอ่านอย่างเดียวหรือรอม (ROM) ซึ่งเป็นส่วนประกอบอีกส่วนหนึ่งของหน่วยเก็บหลัก (primary storage) ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในแรมนี้เองที่หน่วยประมวลผลกลางสามารถบันทึกและอ่านข้อมูล โปรแกรมส่วนมากจะจัดส่วนของแรมไว้ต่างหากเพื่อเป็นเนื้อที่ทำงานชั่วคราวสำหรับข้อมูลของเรา เพื่อที่เราจะสามารถบันทึกทับใหม่ได้เท่าที่ต้องการจนกว่าข้อมูลนั้นจะถูกนำไปพิมพ์หรือเก็บในหน่วยเก็บรอง (secondary storage) เช่น จานบันทึกแบบแข็งหรือแผ่นบันทึก ข้อมูลต่างๆ ที่อยู่ในแรมจะหายไปได้เมื่อมีการปิดเครื่องหรือเมื่อกระแสไฟดับ ดังนั้นเราจึงต้องเก็บบันทึกงานที่ทำอยู่ตลอดเวลาและก่อนที่จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูล

random access

การเข้าถึงโดยสุ่ม
เทคนิคการเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าถึงสารสนเทศนั้นได้โดยตรงโดย ไม่ต้องไปเรียงตามลำดับของที่ตั้งต่างๆ จึงเป็นการเข้าถึงข้อมูลซึ่งใช้เวลาในการค้นหาได้เร็วเท่ากันหมด โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บไม่ว่าจะบันทึกอยู่ในส่วนใดของสื่อ ข้อมูลแต่ละข้อมูลสามารถเข้าถึงได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านข้อมูลอื่นๆ ก่อนให้เสียเวลา คำที่น่าจะใช้ให้สื่อความหมายของกระบวนการนี้ควรใช้ว่า direct access แต่ที่ใช้คำ random access เนื่องมาจากใช้ย่อจากคำ random-access memory นั่นเอง

random access

การเข้าถึงโดยสุ่ม
เทคนิคการเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าถึงสารสนเทศนั้นได้โดยตรงโดย ไม่ต้องไปเรียงตามลำดับของที่ตั้งต่างๆ จึงเป็นการเข้าถึงข้อมูลซึ่งใช้เวลาในการค้นหาได้เร็วเท่ากันหมด โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บไม่ว่าจะบันทึกอยู่ในส่วนใดของสื่อ ข้อมูลแต่ละข้อมูลสามารถเข้าถึงได้โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านข้อมูลอื่นๆ ก่อนให้เสียเวลา คำที่น่าจะใช้ให้สื่อความหมายของกระบวนการนี้ควรใช้ว่า direct access แต่ที่ใช้คำ random access เนื่องมาจากใช้ย่อจากคำ random-access memory นั่นเอง

program

โปรแกรม, ชุดคำสั่ง, สร้างโปรแกรม
รายการของคำสั่งต่างๆ ที่เขียนด้วยภาษาการเขียนโปรแกรม ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถกระทำการตามลักษณะการกระทำที่ได้มีการตัดสินใจไว้ล่วงหน้าแล้ว มีความหมายเช่นเดียวกับ application และ software โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

โปรแกรมระบบ (system programs) โปรแกรมระบบจะรวมโปรแกรมต่างๆ ที่คอมพิวเตอร์ต้องใช้ใน การทำหน้าที่ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงระบบปฏิบัติการ ซอฟต์แวร์จัดการหน่วยความจำ และตัวแปลคำสั่ง ระบบปฏิบัติการเอ็มเอส-ดอสเป็นตัวอย่างหนึ่งของซอฟต์แวร์ระบบตามที่กล่าวมาแล้ว

วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551

GIGO

กิโก (เข้าผิดออกผิด)
เป็นตัวย่อของคำ garbage in, garbage out เป็นคำที่มักพูดกันเมื่อได้รับผลลัพธ์ที่ผิดพลาดออกมา หมายถึง ถ้ามีการใส่ข้อมูลผิดเข้าไป เช่น พิมพ์คำสั่งผิด คอมพิวเตอร์ก็จะให้ข้อมูลที่ผิดพลาดออกมาเช่นกัน

gigabyte

จิกะไบต์, กิกะไบต์
หน่วยของการวัดมีค่าโดยประมาณเท่ากับหนึ่งพันล้านไบต์ ซึ่งมีค่าจริง คือ 1,073,741,824 ไบต์ จิกะไบต์จะใช้เพื่อระบุจำนวนของหน่วยความจำหรือความจุของจานบันทึก หนึ่งจิกะไบต์มีค่าโดยประมาณเท่ากับหนึ่งพันเมกะไบต์

วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551

asterisk


asteriskหมายถึง : เครื่องหมายดอกจัน ( * ) เครื่องหมายดอกจันมีใช้อยู่ในระบบปฏิบัติการและระบบโปรแกรมโดยทั่วไปในความหมายว่า คูณ (x) เช่น 4*5 หมายความว่า 4x5 เป็นต้น ใน MS-DOS, OS/2 และใน operating system อื่นๆ เครื่องหมายดอกจันเป็น wilecard อย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถใช้ในด้านต่างๆ เช่น * * หมายความว่า เป็นการรวมกลุ่มชื่อแฟ้มข้อมูลและแฟ้มข้อมูลเพิ่มเติม

AUTOEXE.BAT


AUTOEXE.BATหมายถึง : ชุดของคำสั่งหรือ batch file ชนิดหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะสำหรับควบคุมการทำงานโดยอัตโนมัติ ซึ่ง MS - DOS operating system สร้างขึ้นเมื่อคอมพิวเตอร์เริ่มทำงาน หรือทำไปแล้วหยุดแล้วเริ่มทำอีก

วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2551

คู่มือการใช้เครื่อง (Reference Manual)

คู่มือการใช้เครื่อง (Reference Manual) วัตถุหนา เหมาะที่จะใช้รองใต้จอมอนิเตอร์ เพื่อยกจอให้อยู่ระดับสายตา ภาษาที่ใช้เขียนคู่มือ นิยมใช้ภาษาบาลีและขอม จึงต้องศึกษาทางธรรมมากๆจึงจะไม่คลุ้มคลั่งเวลาอ่าน

ช่องสัญญาณเข้าออก (Input/Output)

ช่องสัญญาณเข้าออก (Input/Output) หมายถึงช่องทางติดต่อระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์ ช่องอินพุท คือ ช่องทางข้อมูลจากตัวเราไหลผ่านคีย์บอร์ดเข้าสู่คอมพิวเตอร์ นำข้อมูลที่พิมพ์อย่างบรรจง เว้นวรรค จัดรูปแบบ ตรวจทาน ทุ่มเทเวลาและกำลังงานเพื่อให้ข้อมูลเข้าสมบูรณ์พร้อม ส่วนช่องเอ๊าท์พุท คือ ช่องถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปยังพรินเตอร์ ข้อมูลที่ออกมามักเป็นขยะ ตัวอักษรประหลาดที่จะทำให้คุณกระอักเลือดด้วยความแค้น

นักเขียนโปรแกรม (Programmer)

นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สมัยเรียนหนังสือ เขาคือเพื่อนของเรา คนที่ชอบเล่นเกมในห้องเรียน ใส่แว่นตาหนาเตอะ เกรด เฉลี่ยใกล้ๆสี่ ขี้งก หวงวิชา ไม่คบคน ไม่เล่นกีฬา เข้ากับเพื่อนไม่ได้ เลือกเรียนคอมพิวเตอร์เพราะไม่อยากคบมนุษย์ ดังนั้นเมื่อเขียนโปรแกรม จึงเป็นผลให้โปรแกรมกับผู้ใช้งานติดต่อกันไม่รู้เรื่อง

คอมพิวเตอร์ (Computer)

คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึง เครื่องทรมานชนิดหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องแรกประดิษฐ์ขึ้นโดย โรเจอร์ บิลลิงส์ลีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทรมานจอมเผด็จการฮิตเลอร์ โรเจอร์เสแสร้งเป็นพันธมิตรเยอรมันและมอบสิ่งประดิษฐ์ของเขาเป็นของขวัญให้ จอมเผด็จการ แผนได้ผลในวันที่8 เมษายน1945 ฮิตเลอร์ อารมณ์เสียอย่างหนักเมื่อเจอไวรัสกินฐานข้อมูลเสียหายยับเยินจนทำให้เยอรมันแพ้หมดรูป ฮิตเลอร์ตัดสินใจฆ่าตัวตายหลังสงครามโลก โรเจอร์หันมาทำงานให้บริษัทไอบีเอ็ม

ฮารด์แวร์ (Hardware)

ฮารด์แวร์ (Hardware) คืออุปกรณ์ทุกส่วนของคอมพิวเตอร์ที่สร้างมาให้ยากต่อการใช้ (Hard) กระด้าง (Hard) ปราศจากน้ำใจ (Hard) อึด ทนต่อความรุนแรง (Hard) จึงสามารถทุบตีตบเตะได้ตามใจปรารถนา

วันศุกร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Mouse

MouseMouse หรือ เมาส์ คือ อุปกรณ์สำหรับควบคุมเคอร์เซอร์บนจอภาพ, อุปกรณ์นำเข้า (input device) ชนิดหนึ่งมีขนาดพอเหมาะกับมือเป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ สามารถเคลื่อนย้ายไปบนผิวพื้นเรียบ ตัวเมาส์นี้ เมื่อเชื่อมต่อกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ จะเป็นตัวทำให้เคลื่อนย้าย cursor ไปในทิศทางที่ต้องการได้ ใต้ตัวเมาส์จะมีลูกกลิ้งกลม ๆ ซึ่งจะทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) เคลื่อนย้ายไปยังทิศทางต่าง ๆ ได้ โดยปกติ เมาส์ของพีซีจะมี 3 ปุ่ม ส่วนใหญ่จะใช้ปุ่มทางด้านซ้าย ระบบวินโดว์ 95 มีการใช้ปุ่มทางขวาของเมาส์มากขึ้น ส่วนเมาส์ของแมคอินทอชจะมีปุ่มเดียว การใช้เมาส์จะมี 3 ลักษณะ คือ กดที่ปุ่มซ้ายหรือขวาเพียงครั้งเดียวเพื่อเลือกคำสั่ ง หรือกำหนดภาพ ฯ กด 2 ครั้ง ติด ๆ กันเพื่อเริ่มต้นโปรแกรมหรือเปิดแฟ้มข้อมูล กับกดแล้วลากเพื่อเคลื่อนย้ายข้อความหรือภาพ

Motherboard

MotherboardMotherboard หรือ Mainboard หรือ มาเธอร์บอร์ด หรือ เมนบอร์ด คือ แผงวงจรหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่ทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ รูปแบบโดยทั่วไปของเมนบอร์ดในปัจจุบันจะเป็นแบบ AT ซึ่งอ้างอิงตามแบบดั้งเดิมของไอบีเอ็ม และ ATX ซึ่งเป็นรูปแบบที่พัฒนาต่อจาก AT มาอีกขั้นหนึ่งส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ประกอบที่มาต่อกับเมนบอร์ด ได้แก่ ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor), หน่วยความจำ (Memory), ไบออส (BIOS), เอ็กซ์แพนชั่นสล็อต (Expansion Slot) และช่องต่ออินเตอร์คอนเนคติ้ง (Interconnecting)อุปกรณ์อื่นๆนอกเหนือจากที่กล่าวมาสามารถเชื่อมต่อกั บเมนบอร์ดได้โดยผ่านทางเอ็กซ์แพนชั่นสล็อต ขณะที่ช่องทางที่เชื่อมต่อระหว่างเมนบอร์ดกับการ์ดใน เอ็กซ์แพนชั่นสล็อต จะเรียกว่า บัส (Bus)

Microprocessor

MicroprocessorMicroprocessor หรือ ไมโครโปรเซสเซอร์ คือ คอมพิวเตอร์โปรเซสเซอร์บนไมโครชิพ มันเป็น "เอนจิ้น" ซึ่งจะเริ่มทำงานก็ต่อเมื่อเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเ ตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์ถูกออกแบบมาเพื่อการประมวลผลคณิตศาส ตร์และตรรกศาสตร์ซึ่งอาศัยตัวเก็บข้อมูลขนาดเล็กที่เ รียกว่า "รีจีสเตอร์" (Register) เป็นตัวเก็บนำส่งข้อมูลและเก็บผลลัพธ์เป็นการชั่วครา ว

Microchip

MicrochipMicrochip หรือ ไมโครชิพ หรือ ชิพ คือแพ็คเกจของชุดวงจรคอมพิวเตอร์ (อินทิเกรเต็ดเซอร์กิต; Integrated Circuit) ซึ่งผลิตขึ้นจากวัตถุดิบ เช่น ซิลิคอน ที่มีขนาดเล็กมากๆ ไมโครชิพถูกสร้างขึ้นสำหรับโปรแกรมตรรก (ชิพไมโครโปรเซสเซอร์) และหน่วยความจำ (แรม; RAM) นอกจากนี้ยังถูกสร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆอีกด ้วย เช่น Analog-to-Digital Conversion, Bit Slicing และ Gateway เป็นต้น

วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Memory

MemoryMemory หรือ หน่วยความจำ คือ อุปกรณ์อีเลคโทรนิคที่ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลบางส่ว นซึ่งไมโครโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้เร็วที่สุด บางครั้งคำว่า "หน่วยความจำ" อาจใช้แทนคำว่า "แรม" (RAM; Random Access Memory) ซึ่งเป็นหน่วยความจำชนิดหนึ่งได้

Main Frame

Main FrameMainframe คือคำที่กลุ่มอุตสาหกรรมใช้เรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ข นาดใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิ วเตอร์ชั้นนำ เช่น บริษัทไอบีเอ็ม (IBM)ที่ผ่านมา เครื่องคอมพิวเตอร์แมนเฟรมจะทำงานภายใต้สถาปัตยกรรมแ บบสู่ศูนย์กลาง (Centralized) มากกว่าจะเป็นแบบกระจาย (Distributed) แต่ในปัจจุบัน เครื่องเมนเฟรมของไอบีเอ็มสามารถทำหน้าที่เสมือนเครื ่องเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ได้แล้ว มันสามารถให้บริการแก่ยูสเซอร์และเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ กใดๆในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้

LinuxSIS

LinuxSISลินุกซ์ซิส (Linux SIS : Linux School or Small Office Internet Server) คือ ชุดซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการของคนไทยที่ทำหน้าที่เป็น อินเทอร์เน็ต หรือ อินทราเน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet / Intranet Server) ให้กับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ได้นำไปประยุกต์ใช้ เพื่อลดต้นทุนด้านซอฟต์แวร์ที่ต้องใช้ลินุกซ์ซิส เป็นชุดซอฟต์แวร์สำเร็จรูปที่นำไปติดตั้งกับเครื่องค อมพิวเตอร์ธรรมดาทั่วๆ ไป (PC :Personal Computer) หรือเครื่องแม่ข่ายธรรมดา (Server PC Base) ให้กลายเป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Serverเครื่องแม่ข่าย) ที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้บริการแก่เครื่องคอมพิวเตอร์ภายใน / ภายนอกโรงเรียน หรือหน่วยงานต่างๆ โดยมีบริการให้เลือกใช้อย่างมากมาย ตัวอย่างเช่น Web server, Mail server, Proxy/Cache Server และDNS server เป็นต้น และยังมีซอฟต์แวร์เสริมต่างๆ อีกมากมายที่ช่วยให้การทำงานต่างๆ ง่ายขึ้น

LAN

LAN LAN (Local Area Network) หรือ แลน คือ ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ หมายถึง การต่อเชื่อมคอมพิว เตอร์หลายเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย แต่ละเครื่องจะอยู่ในบริเวณใกล้ ๆ กัน เช่น ใน อาคารเดียวกัน คอมพิวเตอร์เหล่านี้จะทำงานร่วมกันได้ ใช้ข้อมูลหรือโปรแกรมร่วมกันได้ ผู้ใช้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือใช้อุปกรณ์บางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์ นับเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดี ชื่อของโปรแกรมระบบแลนที่โด่งดังก็มี Novell, Windows NT ดู WAN เปรียบเทียบ

วันจันทร์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Instruction


Instruction Instruction หรือ อินสตรักชั่น คือ คำสั่งที่สั่งโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อให้โปรเซสเซ อร์ทำงานตามที่ต้องการในระดับล่างสุด อินสตรักชั่นแต่ละอินสตรักชั่นจะประกอบไปด้วย 0 และ 1 เรียงต่อๆกันอยู่ ซึ่งจะอธิบายถึงลักษณะและวิธีการประมวลผล เช่น บวกหรือลบพื้นที่ที่ใช้เก็บจำนวนหรือผลลัพธ์ที่ใช้ในการประมวล ผล หรือแอดเดรสของอินสตักชั่นถัดไปในหน่วยความจำ (ขึ้นอยู่กับประเภทของอินสตักชั่น) ไม่ว่าจะเป็นการอ้างอิงแอดเดรสแบบทางตรง (Direect) หรือทางอ้อม (Indirect) จะเป็นพื้นที่เฉพาะที่เรียกว่า "รีจีสเตอร์" (Register)ในภาษาแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ของคอมพิวเตอร์ คำสั่งแต่ละสเตทเมนต์จะเท่ากับ 1 อินสตักชั่น แต่สำหรับในภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงแล้ว คำสั่งแต่ละสเตทเมนต์จะเท่ากับหลายๆอินสตักชั่นรวมกั น

Instant Messaging


Instant Messaging Instant Messaging หรือ IM หมายถึงโปรแกรมที่ให้ผู้ใช้สามารถส่งผ่านข้อความ, ตัวอักษร, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว, ไฟล์มัลติมีเดีย หรือคุยตอบโต้กันได้แบบเรียลไทม์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Hacker


Hacker Hacker หรือ แฮกเกอร์ คือ ผู้ที่ชื่นชอบในการเสาะค้นหารายละเอียดเกี่ยวกับเครื ่องคอมพิวเตอร์และวิธีการที่จะใช้เครื่องให้ได้เต็มห รือเกินขีดความสามารของเครื่องผู้ที่ชอบสอดรู้สอดเห็นที่พยายามจะให้ได้มาซึ่งข้อมู ล โดยการสอดแนมในที่ต่างๆผู้ที่ชื่นชอบในการเรียนรู้ในรายละเอียดของการเขียนโ ปรแกรมและวิธีที่จะใช้มันให้ได้เต็มหรือเกินขีดความส ามารถ ซึ่งตรงข้ามกับผู้ใช้ทั่วๆไปที่ต้องการเรียนเพียงที่ จำเป็นต้องใช้เท่านั้นผู้โจมตีเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อความท้าทาย สถานะ หรือความตื่นเต้น ที่จะได้มาเมื่อประสบความสำเร็จ

FrontSide Bus


FrontSide Bus FrontSide Bus หรือ ฟรอนต์ไซด์บัส คือช่องทางการสื่อสารข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมระหว่างโปรเซสเซอร์กับหน่วยความจำหลัก หรือแรม

วันเสาร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2551

DRAM


DRAM Dynamic Random Access Memory หรือ DRAM หรือ ดีแรม คือ แรม (Random Access Memory; RAM) หรือ หน่วยความจำชนิดปกติสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีและ เครื่องเวิร์คสเตชั่น (Workstation) หน่วยความจำคือเครือข่ายของประจุไฟฟ้าที่เครื่องคอมพ ิวเตอร์ใช้เก็บข้อมูลในรูปของ "0" และ "1" ที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายๆRandom Access หรือ การเข้าถึงแบบสุ่ม หมายถึง โปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงทุกๆส่วนของหน่วยความจำหรือ พื้นที่เก็บข้อมูลได้โดยตรง ไม่จำเป็นต้องค้นหาข้อมูลที่ต้องการเรียงตามลำดับจาก จุดเริ่มต้นDRAM คือไดนามิก ซึ่งตรงกันข้ามกับ SRAM หรือ สแตติกแรม (Static RAM); DRAM ต้องการการรีเฟรช (Refresh) เซลเก็บข้อมูล หรือการประจุไฟ (Charge) ในทุกๆช่วงมิลลิวินาที ในขณะที่ SRAM ไม่ต้องการการรีเฟรชเซลเก็บข้อมูล เนื่องจากมันทำงานบนทฤษฎีของการเคลื่อนที่ของกระแสไฟ ฟ้าซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงใน 2 ทิศทาง ไม่เหมือนกับเซลเก็บข้อมูลซึ่งเป็นเพียงตัวเก็บประจุ ไฟฟ้าเท่านั้น โดยทั่วไป SRAM มักจะถูกใช้เป็นหน่วยความจำแคช (Cache Memory) ซึ่งโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้เร็วกว่าDRAM จะเก็บทุกๆบิตในเซลเก็บข้อมูล ซึ่งประกอบขึ้นด้วยกลุ่มตัวเก็บประจุ (คาปาซิเตอร์; Capacitor) และทรานซิสเตอร์ (Transistor) คาปาซิเตอร์จะสูญเสียประจุไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว และนั่นเป็นเห็นเหตุผลว่า ทำไม DRAM จึงต้องการการรีชาร์ตปัจจุบัน มีแรมมากมายหลากหลายชนิดในท้องตลาด เช่น EDO RAM, SDRAM และ DDR SDRAM เป็นต้น

DDR SDRAM


DDR SDRAM DDR SDRAM หรือ Double Data Rate SDRAM หรือ ดีดีอาร์เอสดีแรม หรือ ดีดีอาร์ คือ เอสดีแรม (SDRAM) ที่ตามทฤษฎีแล้ว สามารถพัฒนาให้สามารถทำงานที่ความเร็วสูงขึ้นถึง 200MHz (เมกะเฮิร์ตซ) และมีความสามารถในการรับส่งข้อมูลเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า คือ รับส่งข้อมูลได้ทั้งทั้งขาขึ้นและขาลงของสัญญาณคล็อก เทียบกับเอสดีแรมปกติที่จะรับส่งข้อมูลเฉพาะขาขึ้นขอ งสัญญาณคล็อกเพียงด้านเดียว

DDoS


DDoS DDoS หรือ ดีดอส หรือ Distributed Denial-of-Service หรือ ดิสทริบิวต์ออฟเซอร์วิส คือ ลักษณะหรือวิธีการหนึ่งของการโจมตีเครื่องคอมพิวเตอร ์เป้าหมายหรือระบบเป้าหมายบนอินเทอร์เน็ตของแฮกเกอร์ เพื่อทำให้ระบบเป้าหมายปฏิเสธหรือหยุดการให้บริการ (Denial-of-Service)การโจมตีจะเกิดขึ้นพร้อมๆกันและมีเป้าหมายเดียวกัน โดยเครื่องที่ตกเป็นเหยื่อทั้งหมด (เครื่องที่ติดเชื้อจากการแพร่กระจายตัวของโค้ดร้ายซ ึ่งเป็นเครื่องมือของแฮกเกอร์สำหรับการควบคุมระบบ) จะสร้างข้อมูลขยะขึ้นมา แล้วส่งไปที่ระบบเป้าหมายกระแสข้อมูลที่ไหลเข้ามาในปริมาณมหาศาลทำให้ระบบเป้า หมายต้องทำงานหนักขึ้นและช้าลงเรื่อยๆ เมื่อเกินกว่าระดับที่รับได้ ก็จะหยุดการทำงานลงในที่สุด อันเป็นเหตุให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้บริการระบบเป้าหมาย ได้ตามปกติ.

วันอาทิตย์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Clustering


ระบบคลัสเตอร์ หรือคลัสเตอริ่ง หมายถึงการเชื่อมระบบการทำงานของเซิร์ฟเวอร์เข้าด้วย กัน เพื่อเพิ่มกำลังและความสามารถในการประมวลผล ซึ่งอาจเทียบเท่าระดับซูเปอร์คอมพิวเตอร์หรือสูงกว่า ก็ได้ สำหรับการประมวลผลงานที่มีความซับซ้อน โดยเฉพาะงานด้านวิทยาศาสตร์ ข้อดีคือประหยัดค่าใช้จ่าย คือถูกกว่าเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์จริงๆ แต่ข้อเสียคือยุ่งยาก

Chipset


Chipset "Chipset" หรือ "ชิพเซ็ต" คือกลุ่มไมโครชิพที่ถูกออกแบบมา เพื่อเชื่อมหรือประสานการทำงานของฟังก์ชั่นต่างๆที่เ กี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน ตัวอย่างเช่น ชิพเซ็ต Intel 430HX สำหรับโปรเซสเซอร์ตระกูลเพนเทียมของอินเทล ซึ่งเป็นชิพเซ็ตที่ใช้ระบบบัส (Bus) แบบพีซีไอ (PCI; Peripheral Component Interconnect) พร้อมหน่วยควบคุม หรือ คอนโทรลเลอร์ (Controller) เชื่อมการทำงานของอุปกรณ์ประกอบต่างๆ (Component) เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นซีพียู, แรม, ฮาร์ดไดร์ฟ, ซาวด์การ์ด, กราฟิกการ์ด, ซีดีรอม ฯลฯ เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านั้นทำงานร่วมกันได้อย่างมีประส ิทธิภาพสูงสุด, เร็วที่สุด และมีความเสถียรมากที่สุด

วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Cache Memory


Cache Memory Cache Memory หรือ Cache หรือ หน่วยความจำแคช หรือ แคช คือหน่วยความจำแรม (RAM) ซึ่งไมโครโปรเซสเซอร์หรือโปรเซสเซอร์แกนหลัก (Core Processor) สามารถเข้าถึงได้เร็วกว่าหน่วยความจำหลัก (Main Memory) บนระบบคอมพิวเตอร์กระบวนการประมวลผลข้อมูลของไมโครโปรเซสเซอร์นั้น ขั้นตอนแรกคือการเข้าไปค้นหาข้อมูลในแคชก่อน ซึ่งถ้าเจอข้อมูลที่ต้องการ ก็ไม่ต้องเสียเวลาไปค้นหาข้อมูลในหน่วยความจำหลักที่ ใหญ่กว่าในระดับถัดออกไป อาทิ Cache L1, Cache L2, (Cache L3), Memory, Harddiskบ่อยครั้งที่แคชจะถูกกำกับด้วยระดับความใกล้หรือความ ง่ายในการเข้าถึงโดยไมโครโปรเซสเซอร์แคชระดับ1 (Cache L1) คือแคชที่อยู่เป็นเนื้อเดียวกันบนตัวไมโครโปรเซสเซอร ์ สามารถเข้าถึงได้เร็วและง่ายที่สุดแคชระดับ2 (Cache L2) คือแคชที่อยู่ห่างออกมาอีกระดับหนึ่ง ก่อนนี้มักนิยมแยกมาไว้บนสแตติกแรม (SRAM) แต่ปัจจุบัน โปรเซสเซอร์เกือบทุกรุ่นจะมีแคช L2 อยู่บนตัวชิป ซึ่งทำให้แคชที่อยู่บนตัวสแตติกแรมกลายเป็นแคชระดับ 3 (Cache L3) ไปโดยปริยายขณะที่หน่วยความจำหลัก (Memory) จะเป็นไดนามิกแรมหรือดีแรม (DRAM) ที่ปัจจุบันดีดีอาร์-ดีแรม (DDR-DRAM) จะเป็นแบบที่นิยมมากที่สุดและกำลังกลายเป็นมาตรฐานสำ หรับระบบคอมพิวเตอร์สรุปว่า แคช (Cache) คือหน่วยความจำขนาดเล็กที่อยู่ใกล้กับไมโครโปรเซสเซอ ร์ (Core Processor) มากที่สุด เป็นหน่วยความจำที่ไมโครโปรเซสเซอร์สามารถเข้าถึงได้ เร็วกว่าหน่วยความจำหลัก (RAM) บนระบบคอมพิวเตอร์ การเพิ่มขนาดแคชทำให้ระบบสามารถเก็บข้อมูลที่โปรเซสเ ซอร์ต้องใช้ในการประมวลผลได้มากขึ้น ทำให้ใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลน้อยลง ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบดีขึ้นด้วย Chipset "Chipset" หรือ "ชิพเซ็ต" คือกลุ่มไมโครชิพที่ถูกออกแบบมา เพื่อเชื่อมหรือประสานการทำงานของฟังก์ชั่นต่างๆที่เ กี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กัน ตัวอย่างเช่น ชิพเซ็ต Intel 430HX สำหรับโปรเซสเซอร์ตระกูลเพนเทียมของอินเทล ซึ่งเป็นชิพเซ็ตที่ใช้ระบบบัส (Bus) แบบพีซีไอ (PCI; Peripheral Component Interconnect) พร้อมหน่วยควบคุม หรือ คอนโทรลเลอร์ (Controller) เชื่อมการทำงานของอุปกรณ์ประกอบต่างๆ (Component) เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นซีพียู, แรม, ฮาร์ดไดร์ฟ, ซาวด์การ์ด, กราฟิกการ์ด, ซีดีรอม ฯลฯ เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านั้นทำงานร่วมกันได้อย่างมีประส ิทธิภาพสูงสุด, เร็วที่สุด และมีความเสถียรมากที่สุด

Bus


Bus "Bus" หรือ "บัส" คือเส้นทางรับ-ส่งสัญญาณ ทั้งข้อมูลและคอนโทรล ที่เชื่อมถึงอุปกรณ์ทุกๆชิ้นในเครื่องคอมพิวเตอร์หรื อเน็ตเวิร์ค เมื่อมีการส่งสัญญาณข้อมูล เฉพาะอุปกรณ์ที่ถูกแอดเดรสหรือระบุไว้เท่านั้นจึงจะร ับข้อมูลก้อนนั้นได้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ บัสจะหมายถึง เส้นทางข้อมูลที่เชื่อมระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุ ปกรณ์ที่เสียบเข้ากับสล็อตต่างๆบนเมนบอร์ดของเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ, ซีดีรอมไดร์ฟ, ซาวด์การ์ด และกราฟิกการ์ด เป็นต้น

BIOS


BIOS BIOS หรือ ไบออส หรือ Basic Input/Output คือโปรแกรมที่ไมโครโปรเซสเซอร์ใช้เพื่อเริ่มสตาร์ทกา รทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หลังเปิดสวิตช์ ไบออสจะคอยควบคุมหรือจัดการกับกระแสข้อมูลที่วิ่งระห ว่างระบบปฏิบัติการหรือโอเอส (Operating System; OS) กับอุปกรณ์ต่างๆที่ติดตั้งอยู่ เช่น ฮาร์ดดิสก์, กราฟิกการ์ด, คีย์บอร์ด, เมาส์ หรือพรินเตอร์ เป็นต้นไบออสจะถูกบรรจุไว้ในชิพเอ็ปรอม (EPROM) ซึ่งถูกอินทิเกรตติดไว้กับเมนบอร์ด ไม่เหมือนกับโอเอสที่แยกติดตั้งต่างหาก ทันทีที่เปิดสวิตช์คอมพิวเตอร์ ไมโครโปรเซสเซอร์จะส่งผ่านการควบคุมไปให้กับไบออสไบออสจะทำการค้นหาว่า มีอุปกรณ์ใดเชื่อมต่ออยู่กับระบบและพร้อมทำงานบ้าง จากนั้นจึงโหลดโอเอสเข้าสู่หน่วยความจำหลักหรือแรมจา กฮาร์ดดิสก์ไบออสทำให้ระบบปฏิบัติการหรือแอพพลิเคชั่นเป็นอิสระ คือไม่จำเป็นต้องรู้รายละเอียดเกี่ยวกับตัวอุปกรณ์นั ้นๆ เช่น แอดเดรส เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดใดๆเกี่ยวกับอุปกรณ์ มีเพียงไบออสเท่านั้นที่ต้องถูกแก้ไขหรือปรับแต่งให้ ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งบางครั้งการแก้ไขไบออสสามารถทำได้ในระหว่างเซ็ตอ ัพระบบแม้ว่าในทางทฤษฎีแล้ว ไบออสจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางคอยควบคุมกระแสข้อมูลระห ว่างไมโครโปรเซสเซอร์และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต แต่ในบางกรณี ไบออสยังสามารถนำมาใช้ควบคุมกระแสข้อมูลที่วิ่งระหว่ างอุปกรณ์ เช่น กราฟิกการ์ด กับหน่วยความจำได้อีกด้วย เพื่อการส่งผ่านข้อมูลที่รวดเร็วกว่า

วันพุธที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2551

API


API Application Program Interface หรือ API หรือ เอพีไอ คือ วิธีการเฉพาะสำหรับการเรียกใช้ระบบปฏิบัติการหรือแอพ พลิเคชั่นอื่นๆ หรือชุดโค้ด คอมพิวเตอร์ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานระหว่างแอ พพลิเคชั่นกับระบบปฏิบัติการการที่แอพพลิเคชั่นจะเชื่อมต่อการทำงานกับระบบปฏิบัต ิการได้นั้น จำเป็นต้องมีเอพีไอเป็นตัวเชื่อม ซึ่งหากไม่มีการเปิดเผยเอพีไอของระบบปฏิบัติการ ออกมาแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยที่โปรแกรมเมอร์จะพัฒนาแอพพลิเคชั่นข องเขาให้ทำงานเข้ากับระบบปฏิบัติการได้เต็ม 100%อย่างไรก็ตาม แม้เอพีไอจะเป็นอินเตอร์เฟสชนิดหนึ่ง แต่จะทำหน้าที่เชื่อมต่อการทำงานของโปรแกรม ซึ่งต่างไปจากยูสเซอร์อินเตอร์เฟส (User Interface) ทั้งแบบกราฟิก (Graphical User Interface; GUI) และแบบเดิมที่เป็นบรรทัดคำสั่ง (Command Line) ที่เป็นอินเตอร์เฟสเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์กับผู้ใช ้

Application Program


Application Program Application Program หรือ แอพพลิเคชั่นโปรแกรม หรือเรียกสั้นๆว่า Application หรือ แอพพลิเคชั่น คือ โปรแกมที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่เฉพาะสำหรับผู้ใ ช้โดยตรง หรือจากแอพพลิเคชั่นอื่นในบางกรณีตัวอย่างเช่น เวิร์ดโปรเซสซิ่ง, ดาต้าเบส, เว็บเบราวเซอร์, เครื่องมือพัฒนา หรือ ดีเวลอปเมนต์ทูล (Development Tool), โปรแกรมดรอว์อิ้ง, โปรแกรมเพนต์, โปรแกรมตกแต่งภาพ (Image Editor) และโปรแกรมสื่อสาร (Communication Program) เป็นต้นแอพพลิเคชั่นจะมีการเรียกใช้เซอร์วิสของระบบปฏิบัติก ารหรือโปรแกรมซัพพอร์ตอื่นๆในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย โดยรูปแบบในการขอใช้หรือรีเควสต์ (Request) เซอร์วิส และวิธีการสื่อสารกับโปรแกรมอื่น ที่โปรแกรมเมอร์ใช้ในการเขียนแอพพลิเคชั่น เรียกว่า แอพพลิเคชั่นโปรแกรมอินเตอร์เฟส (Application Program Interface; API)

browser


เบราเซอร์เป็นเครื่องมือให้ผู้ใช้เรียกดูไฟล์ข้อมูล เบราเซอร์บางตัวมีความสามารถในการค้นหาข้อความที่อยู่ในไฟล์ ได้เช่นเดียวกับเท็กซ์เอดิเตอร์ แต่ไม่มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงแก้ไชข้อมูลในไฟล์ คำว่าเพจเจอร์ (pager) ก็ใช้แทนความหมายนี้ได้ ในกลุ่มผู้ใช้อินเตอร์เน็ตคำว่า "เบราเซอร์" เป็นชื่อเรียกไคลเอ็นต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเรียกดูเอกสารในเว็บ

Bind Berkeley Internet Domain Software


ไบนด์เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับระบบเบิร์คลีย์ยูนิกซ์ เพื่อให้เนมเซิร์ฟเวอร์ (name server) ใช้ในการทำงานทำงานเกี่ยวกับระบบชื่อโดเมน

วันอาทิตย์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2551

interface



ต่อประสาน, ส่วนต่อประสาน

install


ลงโปรแกรม

วันศุกร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2551

dialup IP



เกณฑ์วิธีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตโดยต่อหมายเลข

desktop


เนื้อที่บนจอภาพ

delete


ลบทิ้ง, ลบออก, ลบ

วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

DOS


ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน (ดอส)

display


การแสดงข้อมูล

วันพุธที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

boot


ปลุกเครื่อง

browse



browse: การค้นหาข้อมูล

วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

CPU


CPU( central processing unit)



(ซีพียู) คือ หน่วยประมวลผลกลาง

capture


จับภาพ, เก็บข้อความ, สร้างความต่อเนื่อง

วันศุกร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Hardware


คืออุปกรณ์ทุกส่วนของคอมพิวเตอร์ที่สร้างมาให้ยากต่อการใช้ (Hard) กระด้าง (Hard) ปราศจากน้ำใจ (Hard) อึด ทนต่อความรุนแรง (Hard) จึงสามารถทุบตีตบเตะได้ตามใจปรารถนา

Computer


หมายถึง เครื่องทรมานชนิดหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องแรกประดิษฐ์ขึ้นโดย โรเจอร์ บิลลิงส์ลีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทรมานจอมเผด็จการฮิตเลอร์ โรเจอร์เสแสร้งเป็นพันธมิตรเยอรมันและมอบสิ่งประดิษฐ์ของเขาเป็นของขวัญให้ จอมเผด็จการ แผนได้ผลในวันที่8 เมษายน1945 ฮิตเลอร์ อารมณ์เสียอย่างหนักเมื่อเจอไวรัสกินฐานข้อมูลเสียหายยับเยินจนทำให้เยอรมันแพ้ หมดรูป ฮิตเลอร์ตัดสินใจฆ่าตัวตายหลังสงครามโลก โรเจอร์หันมาทำงานให้บริษัทไอบีเอ็ม

Alpha

เป็นโปรแกรมทดสอบ ที่ผู้ผลิตลองวางตลาดเพื่อฟังข้อคิดเห็นจากผู้ใช้ อัลฟาเป็นภาษาละตินแปลว่า ไม่เคยทำงานได้ โปรแกรมรุ่นเบต้า (Bata) เป็นโปรแกรมทดสอบที่ออกหลังรุ่นอัลฟา โดยผู้ผลิตนำข้อคิดเห็นจากผู้ใช้รุ่นอัลฟาไปปรับปรุงใหม่ เบต้าเป็นภาษาละตินแปลว่า ก็ยังทำงานไม่ได้เหมือนเดิม

วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

modem

โมเด็ม , อุปกรณ์แปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลเพื่อใช้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต